Dr.Sirirat Panich

ผศ.ดร.สิริรัตน์ พานิช

Asst.Prof.Sirirat Panich, Ph.D.

Ph.D. (Chemistry) Imperial College London, UK
วท.ม. (เคมี, เคมีวิเคราะห์และเคมีอนินทรีย์ประยุกต์) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ. (เคมี) มหาวิทยาลัยบูรพา

[Link] [Google Scholar] [Scopus]

sirirat.pan@rmutp.ac.th
 https://www.facebook.com/AjSirirathcat
Line ID : -

บทความวิจัยและบทความวิชาการ

  • Meechai, T. Harnroongroj, T., Sukosit, P., Yatsomboon, A., Sasing, N., Nateewattana, J., Panich, S., Amnuaywattanakul, T., Chansuvarn, W., & Sricharoen, P. (2024). Water quality assessment of Khlong Thawi Watthana, Thailand: Physical, chemical and microbiological analysis. Journal of Southwest Jiaotong University, 59(2) 69-78. https://doi.org/10.35741/issn.0258-2724.59.2.5 (April, 2024)
  • Chansuvarn, W., & Panich, S. (2024). Nutritional and sensory properties of plant-based milk produced from Sacha inchi seeds (Plukenetia volubilis L.). Food Science and Applied Biotechnology7(1) 14-23. https://doi.org/10.30721/fsab2024.v7.i1.303
  • Chansuvarn, W., Panich, S., & Imyim, A. (2013). simple spectrophotometric method for determination of melamine in liquid milk based on green Mannich reaction. Spectrochimica Acta Part A: Molecular and Biomolecular Spectroscopy, 113(-) 154-158. https://doi.org/10.1016/j.saa.2013.04.019
  • Panich, S. (2018). A novel assay for evaluation of the total antioxidant capacity using a nontoxic probe. Thai Journal of Pharmaceutical Sciences, 42(1), 21-26.
  • Panich, S. (2018). All-in-one flow injection spectrophotometric system for field testing. Applied Mechanics and Materials, (879), 206-211.
  • Panich, S., Sleiman, M.H., Steer, I., Ladame, S., & Edel, J.B. (2016). Real-time monitoring of ligand binding to G-quadruplex and duplex DNA by whispering gallery mode sensing. ACS Sens1(9), 1097–1102. https://doi.org/10.1021/acssensors.6b00301
  • Panich, S., Wilson, K.A., Nuttall, P., Wood, C.K., Albrecht, T., & Edel, J.B. (2014). Label-free Pb (II) whispering gallery mode sensing using self-assembled glutathione-modified gold nanoparticles on an optical microcavity. Anal. Chem, 86(13), 6299–6306. doi: 10.1021/ac500845h

  • สิริรัตน์ พานิช และฉันทนา ปาปัดถา. (2566). การศึกษาคุณค่าทางโภชนาการ ฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระของกาแฟและดอกกาแฟอาราบิก้าของวิสาหกิจชุมชนน้ำหนาวอาราบิก้าจังหวัดเพชรบูรณ์. วารสารวิชาการรับใช้สังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, 7(2) 51-62 (TCI 2)

การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ

  • วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ, ธนัฎฐา อำนวยวัฒนกุล, จินตพัฒน์ นทีวัฒนา, และสิริรัตน์ พานิช. (2566, 24 สิงหาคม). การพัฒนาสูตรผลิตภัณฑ์ยาสีฟันสมุนไพรต้นแบบจากไฮโดรโซลใบพลู  [เอกสารนำเสนอในที่ประชุม]. การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ครั้งที่ 6 “เศรษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจหมุนเวียน-เศรษฐกิจสีเขียว และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ”. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, กรุงเทพมหานคร.
  • วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ, สิริรัตน์ พานิช, และอัญชนา ขัตติยะวงศ์. (2564, 30 สิงหาคม). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อโควิด-19 ที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระจากสารสกัดดอกขลู่  [เอกสารนำเสนอในที่ประชุม]. การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ครั้งที่ 4 “วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมสร้างสรรค์ เพื่อก้าวผ่านสถานการณ์ COVID-19”. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, กรุงเทพมหานคร.
  • สิริรัตน์ พานิช, และวรวิทย์ จันทร์สุวรรณ. (2565, 2-3 มีนาคม). การพัฒนาสูตรผงโปรตีนต้านอนุมูลอิสระสูงจากพืช [เอกสารนำเสนอในที่ประชุม].  งานประชุมวิชาการระดับชาติ โภชนาการแห่งชาติครั้งที่ 15 “โภชนาการ : โอกาสเพื่อสุขภาพดีและชีวียืนยาว”. ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร.
  • Sirirat Panich, Lerpong Pisnui. 2018. All-in-One Flow Injection Spectrophotometric System for Field Testing. The 8th RMUTP International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Development: Challenges Towards the Digital Society, Pullman Bangkok King Power, Bangkok, Thailand, June 22-23, 2017,
  • Sirirat Panich, Maliwan Amatatongchai, Nuanlaor Ratanawimanwong, Tanorm Lomas, Thitima Maturos, Adisorn Tuantranont and Duangjai Nacapricha. A new approach for assessing total antioxidant capacity of fruit juices by lab-on-a-chip (accepted for proceeding of the 10th National Graduate Research Conference at Sukhothai Thammathirat University, Nonthaburi, Thailand.

งานวิจัย

  • การพัฒนาเพื่อเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์เหลือทิ้งทางการเกษตรด้วยนวัตกรรมสารสกัดไฮโดรโซลจากสมุนไพรไทยสำหรับผลิตภัณฑ์ชำระล้างร่างกายสำหรับผู้สูงวัย (ววน. 2567)
  • คุณค่าทางอาหาร ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและคุณภาพทางประสาทสัมผัสของดอกไม้กินได้สดและอัดแห้งเพื่อเพิ่มมูลค่าและอัตลักษณ์แก่อาหาร (สวก. 2566)
  • การศึกษาคุณค่าทางโภชนาการและฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระของกาแฟและชาดอกกาแฟท้องถิ่นวิสาหกิจชุมชนน้ำหนาวอาราบิก้า จังหวัดเพชรบูรณ์ (ววน. 2566)
  • การทดสอบความสามารถในการออกฤทธิ์ของไฮโดรโซลใบพลูสู่การพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ยาสีฟันสมุนไพรลดการอักเสบของเหงือก (ววน. 2565)
  • การตรวจสอบองค์ประกอบทางพฤกษเคมีและความสามารถในการออกฤทธิ์ของน้ำสกัดน้ำมันหอมระเหยจากใบขลู่ สู่การพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ลดการอักเสบของผิวหนัง (ววน. 2564)
  • ความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระโดยรวมของน้ำสกัดน้ำมันหอมระเหยจากใบพลู
  • สารต้านอนุมูลอิสระโดยรวมจากดอกไม้ไทยกินได้
  • การเพิ่มมูลค่าของเปลือกกล้วยเหลือทิ้งเพื่อกำจัดสารพิษในน้ำ

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ

  • สารต้านอนุมูลอิสระ(antioxidant)
  • ตัวตรวจวัดโลหะหลัก (heavy metal sensor)
  • อนุภาคนาโน (nano particle whispering gallery sensor)
  • สารสกัดจากสมุนไพร (herb extraction)
  • อาหารเพื่อสุขภาพ (food for health)
  • โปรตีนจากพืช (plant-based protein)
  • การตรวจวัดวิเคราะห์ความปลอดภัยในอาหาร (food safety)
  • เครื่องสำอาง (cosmetic)

รางวัล

  • รางวัลดีเด่น ประเภทอนุสิทธิบัตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัยเทคโลยีราชมงคลพระนคร ครบ 17 ปี วันที่ 18 มกราคม 2565

ทรัพย์สินทางปัญญา

  1. อนุสิทธิบัตร "เนยถั่วดาวอินคา" เลขทะเบียน 17908 วันที่จดทะเบียน 21/06/2564
  2. อนุสิทธิบัตร "เจลลี่อ้ายอวี้สูตรตรีผลาต้านอนุมูลอิสระ" เลขที่คำขอ  2203001918 วันขอรับอนุสิทธิบัตร 13 ก.ค. 2566
  3. อนุสิทธิบัตร "กรรมวิธีการผลิตและสูตรผงโปรตีนสมบูรณ์ผสมจากพืชต้านอนุมูลอิสระและปรับสมดุลกรด-เบสในเลือด"  เลขที่คำขอ  2203000088
    วันขอรับอนุสิทธิบัตร 13 มกราคม 2565
  4. อนุสิทธิบัตร "กรรมวิธีการผลิตสเปรย์น้ำสกัดน้ำมันหอมระเหยใบพลู" เลขที่คำขอ  2203001915  วันขอรับอนุสิทธิบัตร 13 กรกฏาคม 2566