Dr.Woravith Chansuvarn

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ

Asst.Prof.Woravith  Chansuvarn, Ph.D.

วท.ด. (เคมีวิเคราะห์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.ม. (เคมีวิเคราะห์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วท.บ. (เคมี) มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

[Link] [Google Scholar] [Scopus] [Youtube] [Slideshare] [Website]

woravith.c@rmutp.ac.th
 https://web.rmutp.ac.th/woravith
 https://www.facebook.com/woravith
Line ID : woravith

บทความวิจัยและบทความวิชาการ

  • Meechai, T. Harnroongroj, T., Sukosit, P., Yatsomboon, A., Sasing, N., Nateewattana, J., Panich, S., Amnuaywattanakul, T., Chansuvarn, W., & Sricharoen, P. (2024). Water quality assessment of Khlong Thawi Watthana, Thailand: Physical, chemical and microbiological analysis. Journal of Southwest Jiaotong University, 59(2) 69-78. https://doi.org/10.35741/issn.0258-2724.59.2.5 (April, 2024)
  • Chansuvarn, W., & Panich, S. (2024). Nutritional and sensory properties of plant-based milk produced from Sacha inchi seeds (Plukenetia volubilis L.). Food Science and Applied Biotechnology7(1) 14-23. https://doi.org/10.30721/fsab2024.v7.i1.303
  • Triteeyaprasert, K., Chansuvarn, W., Praphairaksit, N., & Imyim, A. (2023). Speciation analysis of inorganic arsenic in water samples using thiol-ligand and cotton fibres followed by ICP-OES determination. International Journal of Environmental Analytical Chemistry, 1–15. https://doi.org/10.1080/03067319.2023.2258069
  • Chansuvarn, W., Tuntulani, T., & Imyim, A. (2015). Colorimetric detection of mercury (II) based on gold nanoparticles, fluorescent gold nanoclusters and other gold-based nanomaterials. TrAC Trends in Analytical Chemistry, 65(-) 83-96. https://doi.org/10.1016/j.trac.2014.10.013
  • Chansuvarn,  W., & Jainae, K. (2015). Adsorption of Pb(II) from aqueous solution onto manganese oxide-modified laterite soil. Proceedings 2015 International Conference on Science and Technology, TICST 2015, 198-205. doi: 10.1109/TICST.2015.7369360
  • Chansuvarn, W., Panich, S., & Imyim, A. (2013). Simple spectrophotometric method for determination of melamine in liquid milks based on green Mannich reaction. Spectrochimica Acta Part A: Molecular and Biomolecular Spectroscopy, 113(-) 154-158. https://doi.org/10.1016/j.saa.2013.04.019
  • Chansuvarn, W., & Imyim, A. (2012). Visual and colorimetric detection of mercury (II) ion using gold nanoparticles stabilized with a dithia-diaza ligand. Microchimica Acta, 176(-) 56-67. https://doi.org/10.1007/s00604-011-0691-3
  • Chansuvarn, W., & Jainae, K. (2018). Adsorption of cadmium (II) ion from an aqueous solution onto a raw material of bamboo powder and its surface modification. Applied Mechanics and Materials, 879, 131-136.
  • Chansuvarn, W. (2019). Determination of total arsenic using microwave digestion technique-graphite furnace atomic absorption spectrophotometry. Applied Mechanics and Materials, 891, 154-160.
  • Chansuvarn, W. (2020). Determination of residual heavy metals in an incinerator bottom ash from a municipal solid waste power plant. Applied Mechanics and Materials, 901, 65-71.

การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ

  • วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ, ธนัฎฐา อำนวยวัฒนกุล, จินตพัฒน์ นทีวัฒนา, และสิริรัตน์ พานิช. (2566, 24 สิงหาคม). การพัฒนาสูตรผลิตภัณฑ์ยาสีฟันสมุนไพรต้นแบบจากไฮโดรโซลใบพลู  [เอกสารนำเสนอในที่ประชุม]. การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ครั้งที่ 6 “เศรษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจหมุนเวียน-เศรษฐกิจสีเขียว และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ”. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, กรุงเทพมหานคร.
  • วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ, สิริรัตน์ พานิช, และอัญชนา ขัตติยะวงศ์. (2564, 30 สิงหาคม). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อโควิด-19 ที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระจากสารสกัดดอกขลู่  [เอกสารนำเสนอในที่ประชุม]. การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ครั้งที่ 4 “วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมสร้างสรรค์ เพื่อก้าวผ่านสถานการณ์ COVID-19”. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, กรุงเทพมหานคร.
  • สิริรัตน์ พานิช, และวรวิทย์ จันทร์สุวรรณ. (2565, 2-3 มีนาคม). การพัฒนาสูตรผงโปรตีนต้านอนุมูลอิสระสูงจากพืช [เอกสารนำเสนอในที่ประชุม].  งานประชุมวิชาการระดับชาติ โภชนาการแห่งชาติครั้งที่ 15 “โภชนาการ : โอกาสเพื่อสุขภาพดีและชีวียืนยาว”. ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร.

งานวิจัย

  • พฤกษเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดเมล็ดลิ้นจี่ค่อมสมุทรสงครามสู่การพัฒนาศักยภาพเป็นผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและการชะลอวัย เพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุบนฐานเศรษฐกิจ BCG (ววน. 2567)
  • การทดสอบความสามารถในการออกฤทธิ์ของไฮโดรโซลใบพลูสู่การพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ยาสีฟันสมุนไพรลดการอักเสบของเหงือก (ววน. 2565)
  • การตรวจสอบองค์ประกอบทางพฤกษเคมีและความสามารถในการออกฤทธิ์ของน้ำสกัดน้ำมันหอมระเหยจากใบขลู่ สู่การพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ลดการอักเสบของผิวหนัง (ววน. 2564)
  • ความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระโดยรวมของน้ำสกัดน้ำมันหอมระเหยจากใบพลู
  • สารต้านอนุมูลอิสระโดยรวมจากดอกไม้ไทยกินได้
  • การดูดซับโลหะหนักโดยใช้เรซินแลกเปลี่ยนไอออนที่ทำจากผงไผ่และการดัดแปรพื้นผิวด้วยแมงกานีสออกไซด์
  • การเพิ่มมูลค่าของเปลือกกล้วยเหลือทิ้งเพื่อกำจัดสารพิษในน้ำ
  • การกำจัดโลหะหนักจากสารละลายโดยตัวดูดซับจากวัสดุชีวภาพ

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ

  • Visual detection of heavy metals
  • Adsorption based on bio-adsorbents and waste materials
  • Naked-eye detection based on gold nanoparticles
  • Hearb extraction and cosmetic formulation
  • Anti-oxidant

ผลงานเผยแพร่/หนังสือ/ตำรา

  • เคมีวิเคราะห์ (หลักการและเทคนิคการคำนวณเชิงปริมาณ) (พิมพ์ครั้งที่ 2). สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2565. [Link]
  • ตำราเรียน วิชาเคมีสำหรับวิศวกร. 2559. [Link]
  • เคมี เล่ม 1 (คัมภีร์วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์) [Link]

รางวัล

  • รางวัลผลงานวิจัยดีเด่น ภาคบรรยาย เรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อโควิด-19 ที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระจากสารสกัดดอกขลู่ การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ครั้งที่ 4 “วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมสร้างสรรค์ เพื่อก้าวผ่านสถานการณ์ COVID – 19” ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วันที่ 30 สิงหาคม 2564
  • รางวัลผู้มีสื่อการเรียนการสอนดีเด่น ประจำปี 2563 เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ครบรอบ 17 ปี (18 มกราคม 2565)

ทรัพย์สินทางปัญญา

  1. อนุสิทธิบัตร "กรรมวิธีการผลิตและสูตรผงโปรตีนสมบูรณ์ผสมจากพืชต้านอนุมูลอิสระและปรับสมดุลกรด-เบสในเลือด"  เลขที่คำขอ  2203000088
    วันขอรับอนุสิทธิบัตร 13 มกราคม 2565
  2. อนุสิทธิบัตร "กรรมวิธีการผลิตสเปรย์น้ำสกัดน้ำมันหอมระเหยใบพลู" เลขที่คำขอ  2203001915  วันขอรับอนุสิทธิบัตร 13 กรกฏาคม 2566